การกำหนดระดับคุณภาพผลการเรียนรู้ (เพิ่มเติม บท 8)



  The Solo taxonomy
          The Solo taxonomy เป็นการจัดระดับเพื่อประโยชน์ในการแสดงคุณสมบัติเฉพาะในระดับต่างๆกันขอคำถาม และคำตอบที่คาดว่าจะได้รับจากผู้เรียน เป็นชุดของเกณฑ์การประเมินผลการเรียนรู้ที่เป็นผลงานของ Biggs and Collis (1982). “SOLO, มาจากคำว่า Structure of Learning Outcome, : เป็นระบบที่นำมาช่วยอธิบายว่า ผู้เรียนมีพัฒนาการการปฏิบัติที่ซับซ้อนอย่างไร ในการเรียนเพื่อรอบรู้ที่มีความหลากหลายของภาระงานทางวิชาการ ดูที่นิยมจุดประสงค์ของหลักสูตร ในสภาพที่พึงประสงค์ของการปฏิบัติ เพื่อประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนแต่ละคนที่ปฏิบัติได้จริง
          การใช้ Solo taxonomy ในการกำหนดระดับคุณภาพผลการเรียนรู้
          Solo taxonomy คือ การกำหนดระดับคุณภาพผลการเรียนรู้ของผู้เรียน ซึ่งในโรงเรียนเฉพาะกาล และการให้คะแนนจากผลงานเท่านั้น แต่ Solo taxonomy เป็นกระบวนการที่ให้ความสำคัญว่าผู้เรียนมีวิธีการเรียนรู้ สิ่งที่สำคัญประการหนึ่งคือ กูจะต้องมีวิธีการสอนอย่างไรที่ผู้เรียนได้ใช้ปัญญาที่มีความซับซ้อนและก่อให้เกิดพัฒนาการมากขึ้น Solo taxonomy ได้รับการสนับสนุนโดย Biggs และ Collis
The Solo taxonomy เป็นชุดของเกณฑ์การประเมินผลการเรียนรู้ที่เป็นผลงานของ Biggs and Collis (1982).“SOLO, มาจากคำว่า Structure of Learning Outcome, : ถึงระบบที่นำมาช่วยอธิบายว่า ผู้เรียนมีพัฒนาการการปฏิบัติที่ซับซ้อนอย่างไร ในการเรียนเพื่อรอบรู้ที่มีความหลากหลายของภาระงานทางวิชาการ โดยที่นิยมจุดประสงค์ของหลักสูตร ในสภาพที่พึงประสงค์ของการปฏิบัติ เพื่อประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนแต่ละคนที่ปฏิบัติได้จริง
การใช้ Solo taxonomy จะช่วยให้ทั้งครูและผู้เรียนตระหนักถึงองค์ประกอบที่หลากหลายจากหลักสูตรได้อย่างแจ่มชัดขึ้น แนวคิดดังกล่าวถูกนำไปกำหนดเป็นนโยบายใช้ในการประเมินในมหาวิทยาลัยและสถาบันการศึกษาหลายแห่ง สืบเนื่องจากสามารถนำไปใช้ได้ในหลายสาขาวิชา การประเมินความสามารถในการปฏิบัติของผู้เรียนอยู่บนพื้นฐานของการพัฒนาผู้เรียนในแง่ของความเข้าใจที่ซับซ้อน ซึ่งความเข้าใจดังกล่าวแบ่งได้เป็น 5 ระดับ (1) ระดับโครงสร้างพื้นฐาน (Pre - structural) (2) ระดับโครงสร้างเดียว (Unit-structural) (3) ระดับโครงสร้างหลากหลาย (Multi- structural) (4) ระดับความสัมพันธ์ของโครงสร้าง(Relational Level)  (5) ระดับแสดงความต่อเนื่องในโครงสร้างภาคขยาย (Extended Abstract Level)
โครงสร้างการสังเกตผลสัมฤทธิ์การเรียน Biggs และ Collis เสนอวิธีการไว้ดังต่อไปนี้ 1) กำหนดวัตถุประสงค์การเรียนรู้ที่ผู้เรียนปฏิบัติในบทเรียน (To Set learning objective appropriate to where students should be at a particulr stage of their program) และ 2) ประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนแต่ละคน (To assess the learning outcome attaained by each Student) ไม่เขียนวัตถุประสงค์การเรียนรู้ต้องมั่นใจว่าคำกริยาที่นำมาใช้เพื่อการประเมินมีความถูกต้องเหมาะสมในแต่ละระดับ ดังนี้
- ระดับโครงสร้างพื้นฐาน (pre - structural)นักเรียนได้รับข้อมูลเป็นส่วนๆ ที่ไม่ปะติดปะต่อกัน ไม่มีการจัดการข้อมูล และความหมายโดยรวมของข้อมูลไม่ปรากฏ
- ระดับโครงสร้างเดียว( Unit- structural )ทุเรียนเชื่อมโยงข้อมูลพื้นฐาน ง่ายต่อการเข้าใจ แต่ไม่แสดงความหมายของความเกี่ยวโยงของข้อมูล
- โครงสร้างระดับหลักหลาย( Mult-structural)ทุเรียนเชื่อมโยงข้อมูลหลายๆ ชนิดเข้าด้วยกัน ความหมายของความสัมพันธ์ระหว่างความเกี่ยวโยงของข้อมูลไม่ปรากฏ
- ระดับความสัมพันธ์ของโครงสร้าง(Relational Level)  ผู้เรียนแสดงความสัมพันธ์ของความเกี่ยวโยงข้อมูลได้ ผู้เรียนแสดงความสัมพันธ์ของความเกี่ยวโยงของข้อมูล และภาพรวมทั้งหมดได้
- ระดับแสดงความต่อเนื่องในโครงสร้างภาคขยาย (Extended Abstract Level) ทุเรียนเชื่อมโยงข้อมูลนอกเหนือจากหัวข้อเรื่องที่ได้รับ ผู้เรียนสามารถสรุปและส่งผ่านความสำคัญ แนะแนวคิดที่ซ่อนอยู่ภายใต้กรณีตัวอย่าง

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น